เมนู
  • หน้าหลัก
  • ข่าว
    • การประชุม
    • ชนิดพันธุ์ใหม่
    • สาระน่ารู้
  • วิดีโอกิจกรรม
  • นโยบาย
    • นโยบายป่าไม้แห่งชาติ
    • ยุทธศาสตร์
    • คณะกรรมการ
  • กฎหมาย
  • อนุสัญญา
    • อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
    • โปรแกรมงานความหลากหลายทางชีวภาพป่าไม้
    • การเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์
  • พื้นที่ป่าไม้
    • ป่าสงวนแห่งชาติ
    • ป่าชุมชน
    • ป่าปลูก
    • ป่าอื่นๆ
  • สถานะความหลากหลาย
    • กลุ่มพืช
    • กลุ่มสัตว์และแมลง
    • กลุ่มจุลินทรีย์ เห็ดรา และไลเคน
  • ภูมิปัญญาด้านป่าไม้
    • คติความเชื่อ
    • ประเพณีพิธีกรรม
    • โภชนาการพื้นบ้านและการดำรงชีวิต
    • การดูแลสุขภาพพื้นบ้าน
    • เทคโนโลยีพื้นบ้าน
    • การจัดชุมชนและทรัพยากรฯ
  • การอนุรักษ์
  • การจัดการป่าไม้
    • ศูนย์เรียนรู้ความหลากหลาย
    • การท่องเที่ยว
  • เครือข่าย
  • ความร่วมมือระหว่างประเทศ
  • เสริมสร้างสมรรถนะ
    • การฝึกอบรม
    • นักอนุกรมวิธานน้อย
  • เอกสารเผยแพร่
  • ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
  • หน่วยงานและองค์กร
  • เกี่ยวกับเรา
กลไกการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความหลากหลายทางชีวภาพ กรมป่าไม้
« การค้นพบพืชชนิดใหม่ของโลก (new species)
ทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ค้นพบจิ้งจกนิ้วยาวชนิดใหม่ของโลก »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมค้นพบแมลงวันดูดเลือดชนิดใหม่ของโลก

……….การค้นพบแมลงวันดูดเลือด (Haematobosca aberrans sp. nov.) ชนิดใหม่ของโลก แมลงวันดูดเลือดชนิดใหม่ถูกค้นพบใน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ จัดอยู่ในวงศ์ Muscidae วงศ์ย่อย Stomoxyinae ทำให้ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนชนิดของแมลงวันดูดเลือดในวงศ์ย่อยนี้ 11 ชนิด ลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอก
ที่ใช้แยกจากแมลงวันดูดเลือดสกุลเดียวกันคือ ตัวเต็มวัยบริเวณอก ส่วน Katepisternum จะพบเส้นขน
เพียง 1 เส้น (0+1) เท่านั้น

……….แมลงวันดูดเลือดจัดเป็นปรสิตภายนอก ที่มีความสำคัญทางสัตวแพทย์โดยตัวเต็มวัย ทั้งเพศผู้และเพศเมียดูดกินเลือดสัตว์เป็นอาหาร เช่น โค กระบือ ม้า และสัตว์ป่า เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นพาหะนำเชื้อโรคที่สำคัญ ทั้งเชื้อไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว และพยาธิ

……….งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (0517.131/00192) บทความตีพิมพ์ในวารสาร Zootaxa 15 เมษายน 2563

ที่มา https://vs.mahidol.ac.th/th/research-spotlight.html?fbclid=IwAR0tEk0CWawRw2bp_l1JVkmvz7M_fguUs8gabWy5HZ2vKuZj_GiQoGu3XGY

This entry was posted on Friday, May 22nd, 2020 at 14:40

Copyright 2010, Forest Biodiversity Division. All rights reserved.

Entries (RSS)